เป็นเสาเข็มที่หาได้ง่าย มีน้ำหนักเบา ราคาถูก และขนส่งสะดวก แต่มีความสามารถรับน้ำหนักค่อนข้างต่ำ จึงจำเป็นต้องตอกเป็นกลุ่ม ส่งผลให้มีฐานรากมีขนาดใหญ่ ควรตอกให้ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดินเพื่อป้องกันการผุกร่อนจากปลวก และเห็ดรา ปัจจุบันนิยมใช้เสาเข็มไม้สน และยูคาลิปตัส ตามท้องตลาดจะระบุขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเป็นนิ้วและความยาวเป็นเมตร เหมาะกับการนำไปใช้กับสิ่งปลูกสร้างที่มีขนาดเล็ก
ฐานรากศาลา หมู่บ้านกรุงกวี ปทุมธานี
สถาปนิกมืออาชีพออกแบบบ้านตามสไตล์คุณ วิศวกรเซ็นต์เพื่อยื่นขออนุญาต
ชิ้นส่วนคอนกรีตอัดแรงสำเร็จรูป สำหรับงานสาธารณูปโภค
เป็นเสาเข็มที่ทำจากเหล็กทั้งท่อน มีความสามารถในการรับน้าหนักได้สูงกว่าเสาเข็มคอนกรีตและไม้ แต่มีราคาแพง ในปัจจุบันได้มีเทคโนโลยีเคลือบกันสนิมที่ซึมลงไปในเนื้อเหล็ก ติดตั้งได้เร็ว ไม่มีผลกระทบทางเสียง แรงสั่นสะเทือนน้อย สามารถถอน และเคลื่อนย้ายได้ง่าย นิยมใช้กับงานโครงสร้างชั่วคราวที่ต้องรับน้ำหนักมากแต่ต้องทำการรื้อถอนในภายหลัง
เป็นอย่างไรบ้างกับ ประเภทเสาเข็ม มีให้เลือกหลายประเภทหลายรูปแบบเลยใช่ไหมคะ หากใครกำลังมองหาเสาเข็มไว้สร้างบ้านหรือต่อเติมอาคาร more info ควรศึกษาข้อมูลของเสาเข็มให้ละเอียด รวมถึงปรึกษาผู้เชี่ยวชาญก่อนตัดสินใจซื้อ เพื่อประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และความมั่นใจตลอดการใช้งาน เพราะหากเรามองข้ามส่วนนี้ไป บ้านทั้งหลังของเราอาจได้รื้อสร้างใหม่เลยก็ได้น้าา
โดยทั่วไปในการเริ่มต้นทำฐานราก, ตอกเสาเข็มและลงเสาเข็มก่อนก่อสร้างบ้าน วิศวกรมักเลือกใช้เสาเข็มตอก เพราะอันดับแรกคือมีราคาถูกกว่าเสาเข็มเจาะและสามารถตรวจสอบคุณภาพหลังการตอกเสาเข็มได้ง่ายกว่า แต่เสาเข็มตอกเองก็มีข้อเสียเช่นกันคือไม่สามารถขนส่งเสาเข็มเข้ามาในพื้นที่ก่อสร้างได้หากแคบเกินไป อีกทั้งการตอกเสาเข็มด้วยวิธิการใช้เสาเข็มตอกยังทำให้เกิดการเสียงดังและแรงสั่งสะเทือน ซึ่งอาจทำให้บ้านที่อยู่ติดๆกันแตกร้าว จนอาจะทำให้รากฐานหรือโครงสร้างของบ้านข้างๆนั้นร่วมตามไปด้วยได้ ซึ่งหากการตอกเสาเข็มนั้นมีพื้นที่จำกัดเราก็อาจจะหลีกเลี่ยงไปใช้เสาเข็มเจาะที่มีราคาแพงกว่า แต่ต้องมีการควบคุมคุณภาพให้ดีหลังจากทำการตอกเสาเข็มบ้าน/อาคารไปแล้ว
ขอบคุณข้อมูลจาก บริษัท ออลเฮ้าส์ จำกัด
“บ้านที่มั่นคง ต้องมีฐานรากที่แข็งแรง” คำกล่าวนี้ไม่ได้เป็นจริงแต่ในแง่นามธรรมเท่านั้น เพราะในความเป็นจริงฐานของบ้านอย่าง เสาเข็ม
รับข่าวสารเรื่องการออกแบบ สถาปัตยกรรม ไลฟ์สไตล์
ถ้าทางเข้าออก มีปัญหา ไม่สามารถขนเสาเข็มเข้ามาได้ หรือพอเสาเข็มเข้ามาได้แต่ ข้างบ้านไม่ยอมให้ตอก หรือ ตอกได้แต่อาคารข้างเคียงแตกร้าว ปัญหาเหล่านี้จะตามมาทันที ต้องฟ้องร้องเสียเวลาเสียเงินทองในการแก้ไขปัญหา
เป็นเสาเข็มที่อาศัยเทคนิคการดึงลวดรับแรงดึงแล้วเทคอนกรีตลงในแบบ เมื่อคอนกรีตแข็งจนได้กำลังจึงทำการตัดลวดรับแรงดึง จึงทำให้เกิดแรงอัดในเสาเข็ม ซึ่งช่วยลดปัญหาการแตกร้าวของเสาเข็มได้ดีกว่าแบบอื่นๆ
เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงคือ?
เราพร้อมที่จะสร้างฐานรากซึ่งเป็นพื้นฐานของบ้าน อาคารให้คุณ โครงการของคุณ